หมู่ที่ | ชื่อหมู่บ้าน | จำนวนประชากร | ชาย | หญิง | จำนวนครัวเรือน |
๒ | บ้านเกาะแก้ว | ๔๓๐ | ๒๐๗ | ๒๒๓ | ๑๕๙ |
๓ | บ้านเนินงิ้ว | ๗๗๒ | ๓๗๘ | ๓๙๔ | ๒๑๕ |
๔ | บ้านถ้ำคะนอง | ๑,๐๒๖ | ๕๑๑ | ๕๑๕ | ๓๓๘ |
๕ | บ้านคลองระนาม | ๓๑๖ | ๑๖๐ | ๑๕๖ | ๑๐๗ |
๖ | บ้านทุ่งสำราญ | ๕๓๒ | ๒๖๔ | ๒๖๘ | ๑๖๒ |
๗ | บ้านท่าพิกุล | ๕๙๕ | ๓๐๔ | ๒๙๑ | ๑๘๔ |
๙ | บ้านคลองสาริกา | ๗๔๒ | ๓๗๒ | ๓๗๐ | ๒๖๐ |
๑๐ | บ้านหนองกรด | ๔๔๒ | ๒๒๘ | ๒๑๔ | ๑๐๘ |
๑๑ | บ้านปากดง | ๘๐๕ | ๔๐๐ | ๔๐๕ | ๒๒๕ |
๑๒ | บ้านวังกระเปา | ๓๘๖ | ๑๘๓ | ๒๐๓ | ๑๘๐ |
๑๓ | บ้านหนองแหน | ๔๖๐ | ๒๓๕ | ๒๒๕ | ๑๒๘ |
๑๔ | บ้านเนินไก่เถื่อน | ๔๙๐ | ๒๖๑ | ๒๒๙ | ๒๒๔ |
๑๕ | บ้านดงเย็น | ๕๓๙ | ๒๖๔ | ๒๗๕ | ๑๔๑ |
รวม | ๗,๕๓๕ | ๓,๗๖๗ | ๓,๗๖๘ | ๒,๔๓๑ |
ดาน | สถานการณ์ภาพแวดล้อม ภายนอกที่เกี่ยวข้อง |
ขอบขายและปริมาณของปัญหา/ความต้องการ | พื้นที่เปาหมาย/ กลุ่มเป้าหมาย | ความคาดหวังและ แนวโนมอนาคต |
1. โครงการสร้างพื้นฐาน | 1.1) ขาดแคลนแหล่งน้ำในการเกษตรและน้ำประปาสำหรับอุปโภค-บริโภคยังไม่พอเพียงและยังไม่ได้มาตรฐาน | – แหล่งน้ำและน้ำประปาในการอุปโภค-บริโภค | – ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ประชาชนมีแหล่งน้ำและมีน้ำประปาใช้อย่างพอเพียงมีคุณภาพตามมาตรฐานมากขึ้น |
1.2) ไฟฟ้าส่องสว่างทางและที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด | – ไฟฟ้า | – ทางและที่สาธารณะในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ทางและที่สาธารณะมีแสงสว่างเพียงพอประชาชนได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมาและป้องกันการเกิดอาชญากรรมได้ | |
1.3) ชุมชนขยายมากขึ้นระบบระบายน้ำยังไม่เพียงพอ เกิดการอุดตัน | – ราง/ท่อระบายน้ำ | – พื้นที่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – มีรางระบายน้ำสามารถระบายน้ำได้สะดวก ไม่อุดตัน | |
1.4) ประชาชนต้องการเส้นทางในการสัญจรไปมาเพิ่มมากขึ้นและองค์การบริหารส่วนตำบลไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากพื้นที่ยังไม่เป็นที่สาธารณะ จะดำเนินการได้ก็ต่อเมื่อต้องเป็นที่สาธารณะ | – เส้นทางคมนาคม | – เส้นทางคมนาคมที่เป็นสาธารณะและประชาชนมีความต้องการให้ดำเนินการ | – มีเส้นทางในการคมนาคมเพียงพอและ ประชาชนได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมา | |
2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต | 2.1.1) มีการระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคระบาด โรคติดต่อ | – ด้านสาธารณสุข | – ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | ในพื้นที่ไม่มีการระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคระบาด โรคติดต่อ |
2.1.2) ประชาชนในพื้นที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เช่น เบาหวาน ความดัน | – ด้านสาธารณสุข | – ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วย | ||
2.1.3) ปริมาณขยะมากขึ้น | – ด้านสาธารณสุข | – ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ปริมาณขยะถูกกำจัดให้หมดด้วยวิธีการที่ถูกต้อง | |
2.1.4) ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย | – ด้านสาธารณสุข | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ประชาชนทราบและสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยได้ถูกต้อง | |
2.2)ประชาชนในพื้นที่บางรายมีที่อยู่อาศัยไม่มั่นคง แข็งแรง | – ที่อยู่อาศัย | – ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับความเดือนร้อนเรื่องที่อยู่อาศัย | – ประชาชนในพื้นที่ได้รับความช่วยเหลือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยให้มั่งคงแข็งแรง | |
2.3)ประชาชนบางครัวเรือนบริโภค-บริโภคน้ำที่ยังไม่สะอาดและมีสิ่งเจือปน เช่น จากน้ำฝน น้ำที่ไม่ได้คุณภาพ มีตะกอน | – การอุปโภค-บริโภค | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ประชาชนบริโภคน้ำที่สะอาดถูกสุขลักษณะ | |
2.4.1) การศึกษาสื่อการเรียนการสอนยังไม่พอเพียง เด็กนักเรียนไม่ได้รับการศึกษาต่อในระดับที่สูงกว่าขั้นพื้นฐาน และขาดงบประมาณในการศึกษา ครอบครัวยากจน | – สังคมในชุมชน | – เด็กนักเรียนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – มีสื่อการเรียนการสอนที่พอเพียง เด็กนักเรียนได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น มีงบประมาณในการศึกษาเล่าเรียน | |
2.4.2) เด็กและผู้สูงอายุบางครอบครัว ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพัง และรับภาระในการดูแลเด็ก | – สังคมในชุมชน | – ผู้สูงอายุและเด็กในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ผู้สูงอายุและเด็กได้รับการดูแลที่ดี | |
2.4.3) ผู้พิการไม่ได้รับความช่วยเหลือในดำรงชีวิต | – สังคมในชุมชน | – ผู้พิการในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ผู้พิการได้รับความช่วยเหลือในการดำรงชีวิตและทั่วถึง | |
2.4.4) เยาวชนและวัยรุ่นติดเกมส์ สิ่งลามก บุหรี่ เหล้า ยาเสพติด และท้องก่อนวัยอันสมควร | – สังคมในชุมชน | – เยาวชนและวัยรุ่นในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – เยาวชนและวัยรุ่นมีอนาคตที่ดี | |
2.4.5) ประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ขึ้นไป บางรายไม่ได้ตรวจสุขภาพประจำปี | – สังคมในชุมชน | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่อายุ 35 ขึ้นไป | – ประชาชนที่อายุ 35 ขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพทุกคน | |
2.4.6) ประชากรที่สูบบุหรี่ และดื่มสุรา | – สังคมในชุมชน | – ประชาชนที่สูบบุหรี่และดื่มสุรา | – ประชาชนเลิกสูบบุหรี่และเลิกดื่มสุรา | |
3. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชย์กรรมและการท่องเที่ยว | 3.1) ประชาชนไม่มีการวางแผนในการดำเนินงาน | – การวางแผน | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ประชาชนสามารถวางแผนการดำเนินงานได้เอง |
3.2) ขาดแหล่งเงินลงทุนในการทำกิจการและประกอบอาชีพ | – การลงทุน | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – มีแหล่งเงินทุนในการทำกิจการและประกอบอาชีพ | |
3.3.1) ประชาชนขาดสถานที่จำหน่ายสินค้า | – การพาณิชย์กรรม | – ร้านค้าแผลงลอย | – ร้านค้าแผงลอยมีสถานที่ในการขายจำหน่ายสินค้า | |
3.3.2) ผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่ำระยะทางในการขนส่งผลผลิตไกลจากแหล่งรับซื้อ | – การพาณิชย์กรรม | – เกษตรกรในพื้นที่ | – ผลผลิตมีราคาสูงขึ้น | |
3.3.3) ค่าแรงต่ำค่าครองชีพสูงขาดแคลนการจ้างงาน | – การพาณิชย์กรรม | – ผู้ประกอบอาชีพรับจ้าง | – ค่าแรงสูงขึ้นเหมาะสมกับค่าครองชีพ มีการจ้างงานมากขึ้น | |
3.4) ประชาชนไม่มีการวางแผนในการดำเนินงาน | – การวางแผน | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ประชาชนสามารถวางแผนการดำเนินงานได้เอง | |
3.5) ขาดแหล่งเงินลงทุนในการทำกิจการและประกอบอาชีพ | – การลงทุน | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – มีแหล่งเงินทุนในการทำกิจการและประกอบอาชีพ | |
3.6.1) ประชาชนขาดสถานที่จำหน่ายสินค้า | – การพาณิชย์กรรม | – ร้านค้าแผลงลอย | – ร้านค้าแผงลอยมีสถานที่ในการขายจำหน่ายสินค้า | |
3.6.2) ผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่ำระยะทางในการขนส่งผลผลิตไกลจากแหล่งรับซื้อ | – การพาณิชย์กรรม | – เกษตรกรในพื้นที่ | – ผลผลิตมีราคาสูงขึ้น | |
3.6.3) ค่าแรงต่ำค่าครองชีพสูงขาดแคลนการจ้างงาน | – การพาณิชย์กรรม | – ผู้ประกอบอาชีพรับจ้าง | – ค่าแรงสูงขึ้นเหมาะสมกับค่าครองชีพ มีการจ้างงานมากขึ้น | |
3.7) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม่มีแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว | – การท่องเที่ยว | – ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – มีแหล่งทองเที่ยวในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลและส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น | |
4. ด้านการจัดระเบียบชุมชนและการรักษาความสงบเรียบร้อย | 4.1) การจราจรบนถนนมีเพิ่มมากขึ้นอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ | – การจราจร | ประชาชนที่สัญจรไปมาบนถนน | มีระบบควบคุมการจราจร เช่น ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบเพื่อเตือนให้ระมัดระวัง |
4.2) มีการทำลายและลักขโมยทรัพย์สินของประชาชนและราชการรวมทั้งเกิดการทะเลาะวิวาทกันในชุมชน | – การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน | – ประชาชนและส่วนราชการ | – มีการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนละส่วนราชการ เช่น การติดตั้งกล้องวงจรปิด การให้ผู้นำ อปพร. ควบคุมและระงับเหตุทะเลาวิวาท | |
5. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 5.1) เป็นพื้นที่ไม่มีแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตรและอุปโภค-บริโภค | – ดินและน้ำใต้ดิน | – พื้นที่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ปัญหาเรื่องไม่มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร |
5.2) มีปัญหาเรื่องขยะเพิ่มมากขึ้นส่งกลิ่นเหม็นรำคาญ | – สิ่งแวดล้อม | – ผู้ประกอบการและชุมชนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล | – ปัญหาขยะและน้ำเสียลดลง ผู้ประกอบการสามารถกำจัดขยะและน้ำเสียเองได้โดยไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชน | |
6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น | 6.1) ศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นถูกลืมเลือนไปมาก | – ศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นถูกลืมเลือนไปมาก | – ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล | – ยกย่อง เชิดชูคนดีหรือปราชญ์ชาวบ้านในโอกาสต่างๆ เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เยาวชนและประชาชน ศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่ถูกลืมและคงอยู่สืบไป |